Thi
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 35/397/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๗. โมคคัลลานสูตร
ว่าด้วยพระสารีบุตรไปหาพระมหาโมคคัลลานะ
[๑๖๗] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรไปหาท่านพระมหาโมคคัล-
ลานะถึงที่อาทิผิด อาณัติกะอยู่ ได้ปราศรัยชื่นชมกับพระมหาโมคคัลลานะ ครั้นกล่าวถ้อยคำ
ที่ทำให้เกิดความยินดีต่อกันเป็นที่ระลึกถึงกันแล้ว นั่งลง ณ ที่ควรข้างหนึ่ง
ได้ถามพระมหาโมคคัลลานะว่า อาวุโส โมคคัลลานะ ปฏิปทา ๔ นี้ คือ
ทุกฺขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา ฯลฯ สุขาปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺา จิตของ
ท่านสิ้นความยึดถือ หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะอาศัยปฏิปทาอย่างไหน
ในปฏิปทา ๔ นี้
พระมหาโมคคัลลานะตอบว่า อาวุโสสารีบุตร ปฏิปทา ๔ นี้ คือ
ทุกฺขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา ฯลฯ สุขาปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺา จิตของ
ข้าพเจ้าสิ้นความยึดถือ หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะอาศัย ทุกฺขา-
ปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺา
จบโมคคัลลานสูตรที่ ๗
อรรถกถาโมคคัลลานสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในโมคคัลลานสูตรที่ ๗ ดังต่อไปนี้ :-
มรรค ๓ เบื้องต่ำ ของพระมหาโมคคัลลานเถระได้เป็น สุขาปฏิปทา
ทนฺธาภิญฺา (ปฏิบัติง่ายรู้ได้ช้า) อรหัตมรรค เป็นทุกฺขาปฏิปทา
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论