星期六, 五月 05, 2018

Samphappalapa

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 26/476/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
แม่น้ำ เพราะได้น้ำมัน หรือเนยใสแม้นิดหน่อยแล้ว ประสงค์จะให้
หัวเราะกัน ชื่อว่ามีโทษน้อย. แต่มุสาวาทของผู้กล่าวสิ่งที่ตนมิได้เห็น
นั่นแล โดยนัยเป็นต้นว่า ข้าพเจ้าเห็น ชื่อว่ามีโทษมาก.
มุสาวาทนั้น มีองค์ ๔ คือเรื่องไม่จริง ๑ จิตคิดจะกล่าวให้ผิด ๑
ความพยายามเกิดจากจิตนั้น ๑ ผู้อื่นรู้เรื่องนั้น ๑ มีประโยคเดียว คือ
สาหัตถิกะแล. มุสาวาทนั้นพึงเห็นได้ในการทำกิริยาเป็นเครื่องกล่าวให้ผิด
ต่อผู้อื่น ด้วยกายบ้าง ด้วยของเนื่องด้วยกายบ้าง ด้วยวาจาบ้าง ถ้าผู้อื่น
รู้เรื่องนั้น ด้วยกิริยานั้น. เจตนาที่ยังกิริยาให้ตั้งขึ้นนี้ ย่อมผูกมัดด้วย
มุสาวาทกรรมในขณะนั้นแล.
บทในบทเป็นต้นว่า ปิสุณา วาจา ความว่า คนพูดวาจาแก่ผู้
อื่นด้วยวาจาใด กระทำตนให้เป็นที่รักอยู่ในดวงใจของผู้นั้น และทำ
คนอื่นให้เสีย วาจานั้น ชื่อว่า ปิสุณวาจา. ส่วนวาจาใด ทำตนบ้าง
คนอื่นบ้างให้หยาบ. หรือวาจาใดหยาบ แม้ตนเองก็ไม่เพราะหูไม่สบาย
ใจ นี้ชื่อว่า ผรุสวาจา. คนกล่าวเพ้อเจ้อไร้ประโยชน์ เขาชื่อว่า
สัมผัปปลาปะอาทิผิด อักขระ. แม้เจตนาที่เป็นมูลของวาจาเหล่านั้น ก็ย่อมได้ชื่อว่า
ปิสุณวาจาเป็นต้นเหมือนกัน. ก็เจตนานั้นแล ท่านประสงค์เอาในที่นี้.
ในบทนั้น เจตนาของผู้มีจิตเศร้าหมอง อันยังกายประโยคและวจี-
ประโยคให้ตั้งขึ้น เพื่อทำลายชนเหล่าอื่นก็ดี เพื่อประสงค์จะทำตนให้เป็น
ที่รักก็ดี ชื่อว่าปิสุณวาจา. ปิสุณวาจานั้น ชื่อว่ามีโทษน้อย เพราะบุคคล
ผู้ถูกปิสุณวาจีบุคคลทำความแตกกันในผู้มีคุณอาทิผิด สระน้อย ชื่อว่ามีโทษมาก ใน
ผู้มีคุณมาก.
ปิสุณวาจานั้น มีองค์ ๔ คือ ทำลายผู้อื่น ๑ ความเป็นผู้มุ่งเพื่อ
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: