星期日, 七月 31, 2022

Kratham

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 84/1117/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ และก็จักกระทำอาทิผิด สระให้แจ้งอัญญาตาวินทรีย์.
ก็หรือว่า บุคคลใดจักกระทำให้แจ้งอัญญาตาวินทรีย์, บุคคล
นั้นก็เคยเจริญอนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ ใช่ไหม ?
บุคคล ๒ จำพวก จักกระทำให้แจ้งอัญญาตาวินทรีย์ แต่
ไม่ใช่เคยเจริญอนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ บุคคล ๖ จำพวก จักกระทำ
ให้แจ้งซึ่งอัญญาตาวินทรีย์ และเคยเจริญอนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์อาทิผิด .
จบ อนัญญาตัญญัสสามีตินทริยมูละ อัญญาตาวินทริยมูลี
อนัญญาตัญญัสสามีตินทริยมูล จบ
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 七月 30, 2022

Thamma Chak

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 47/643/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พึงทราบวินิจฉัยในคาถาที่ ๑๘. บทว่า สุตฺวาน โฆสํ ความว่า
นาลกะนั้นรอคอยอยู่อย่างนั้นได้ฟังเสียงประกาศที่พระชินสีห์ทรงประกาศธรรม-
จักรอาทิผิด อักขระอันประเสริฐโดยนัยมีอาทิว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบรรลุสัมโพธิญาณ
โดยลำดับแล้วทรงประกาศพระธรรมจักรในกรุงพาราณสี พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงประกาศธรรมจักรนั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นเป็นพระสัมมา-
สัมพุทธเจ้าทรงอุบัติแล้วหนอดังนี้ อันพวกเทวดาผู้หวังประโยชน์แก่ตนพากัน
มาบอกแล้ว. บทว่า คนฺตฺวาน ทิสฺวา อิสินิสภํ ความว่า เมื่อทวยเทพ
ทำการโกลาหลด้วยโมเนยยปฏิปทาอยู่ตลอด ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
ดำริว่า ในวันที่ ๗ นาลกะจักไปยังที่อยู่ของอาทิผิด อักขระฤษีแล้วก็จักมา เราจักแสดงธรรม
แก่เขาดังนี้ นาลกะเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งเหนือบวรอาทิผิด พุทธอาสน์ ด้วย
ความมุ่งหมายนี้ จึงได้เข้าไปเฝ้าพระชินสีห์ผู้องอาจกว่าฤษี. บทว่า ปสนฺโน
คือมีจิตเลื่อมใสพร้อมกับการเห็นเท่านั้น. บทว่า โมเนยฺยเสฏฺฐํ ปฏิปทา
อันประเสริฐของมุนี คือ ญาณชั้นสูงสุด อันได้แก่มรรคญาณ. บทว่า สมาคเต
อสิตวฺหยสฺส สาสเน คือในเมื่อคำอาทิผิด อักขระสั่งสอนของอสิตฤษีมาถึงเข้า. ก็เมื่อใด
นาลกดาบสประพฤติมรรคธรรม เมื่อนั้นก็จะถูกอสิตฤษีไปถามแล้วสอนว่า
ท่านจงประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเถิด. นี้แหละคือกาลนั้น.
ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า สมาคเต อสิตวฺหยสฺส สาสเน ดังนี้.
บทที่เหลือในคาถานี้ ปรากฏชัดแล้ว. พึงทราบการพรรณนาวัตถุคาถานี้ไว้
เพียงเท่านี้.
พึงทราบวินิจฉัยในสองคาถาอันเป็นคำถาม. บท อญฺญาตเมตํ
คือข้าพระองค์ได้รู้คำนี้แล้ว. บทว่า ยถาตถํ คือไม่วิปริต. อธิบายว่ากระไร
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 七月 29, 2022

Haeng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 74/651/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เป็นที่ตั้งมั่น หรือเพียงตั้งมั่นเท่านั้น. ชื่อว่า สัจจาธิษฐาน เพราะสัจจะ
และอธิษฐาน. หรือเพราะเป็นที่ตั้งแห่งอาทิผิด สัจจะ หรือเพราะมีสัจจะเป็น
อธิษฐาน. แม้ในอธิษฐานธรรมที่เหลือก็เหมือนอย่างนั้น. ในอธิษฐาน
ธรรมนั้นโดยไม่ต่างกัน สัจจาธิษฐาน เพราะกำหนดบารมีทั้งปวงสมควรแก่
ปฏิญญาของพระมหาสัตว์ ผู้อนุเคราะห์สรรพสัตว์ สะสมบุญญาภินิหารใน
โลกุตตรคุณ. จาคาธิษฐาน เพราะสละสิ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อสัจจะ. อุป
สมาธิษฐาน เพราะสงบจากสิ่งไม่เป็นคุณของบารมีทั้งปวง. ปัญญาธิษฐาน
เพราะเป็นผู้ฉลาดในอุบายอันเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ด้วยอธิษฐานธรรม
เหล่านั้น.
แต่โดยที่ต่างกัน ทาน เป็นปทัฏฐานแห่งอธิษฐานธรรม ๔ แห่งกุศล-
ธรรมทั้งหลาย เพราะปฏิญญาว่า เราจักให้ไม่ให้ยาจกผิดหวัง เพราะให้
ไม่ผิดปฏิญญา เพราะอนุโมทนาไม่ผิดทาน เพราะสละสิ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อ
มัจฉริยะเป็นต้น เพราะสงบจากภัยคือโลภะ โทสะ และโมหะในไทยธรรม
ปฏิคคาหกทานและความสิ้นไปแห่งไทยธรรม เพราะให้ตามสมควรตามกาล
และตามวิธี และเพราะปัญญายิ่ง. อนึ่ง ศีล เป็นปทัฏฐานแห่งอธิษฐาน
ธรรม ๔ เพราะไม่ล่วงสังวรสมาทาน เพราะสละความทุศีล เพราะสงบจาก
ทุจริต และเพราะปัญญายิ่ง. ขันติ เป็นปทัฏฐานแห่งอธิษฐาน . เพราะ
อดทนได้ตามปฏิญญา เพราะสละการกำหนดโทษของผู้อื่น เพราะสงบความ
โกรธและความหมกมุ่น และเพราะมีปัญญายิ่ง. วิริยะ เป็นปทัฏฐานแห่ง
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 七月 26, 2022

Khong

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 44/776/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ขณะที่พวกเขาตอกหลักที่มุมทั้ง ๔ แล้วจับจองพื้นที่. พวกเทวดาผู้มี
ศรัทธาของตระกูลที่มีศรัทธา ก็ย่อมกระทำอย่างนั้น. เทวดาผู้ไม่มี
ศรัทธาของตระกูลที่ไม่มีศรัทธา ก็ย่อมกระทำอย่างนั้น. เพราะเหตุไร ?
เพราะเทวดาผู้มีศรัทธาย่อมคิดอย่างนี้ว่า พวกมนุษย์ย่อมสร้างนิเวศน์
ในที่นี้ จักนิมนต์ให้ภิกษุสงฆ์นั่งก่อนแล้ว จึงให้กล่าวมงคล เมื่อเป็น
เช่นนี้ พวกเราก็จักได้เห็นท่านผู้มีศีล ฟังธรรมกถา ฟังการแก้ปัญหา
และจักได้ฟังอนุโมทนา อนึ่ง พวกมนุษย์ถวายทานแล้ว จักให้ส่วนบุญ
แก่พวกเรา. ฝ่ายเทวดาผู้ไม่มีศรัทธา ย่อมมีความคิดอย่างนี้ว่า เราจัก
ได้เห็นการปฏิบัติของภิกษุเหล่านั้น และได้ฟังกถาตามเหมาะแก่ความต้อง-
การ ของอาทิผิด อาณัติกะตน พวกมนุษย์ก็กระทำอย่างนั้นเหมือนกัน.
บทว่า ตาวติํเสหิ ความว่า เหมือนอย่างว่า เพราะอาศัยมนุษย์ผู้
เป็นบัณฑิตคนหนึ่ง ในตระกูลหนึ่ง และภิกษุผู้เป็นพหูสูตรูปหนึ่ง ใน
วิหารหนึ่ง เสียงย่อมขจรไปว่า พวกมนุษย์ในตระกูลโน้นเป็นบัณฑิต
พวกภิกษุในวิหารโน้นเป็นพหูสูต ฉันใด เพราะอาศัยท้าวสักกเทวราช
และวิสสุกรรมเทวบุตร เสียงจึงขจรไปว่า พวกเทวดาชั้นดาวดึงส์เป็น
บัณฑิต ฉันนั้นเหมือนกัน. ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ตาวติํอาทิผิด อักขระเสหิ ดังนี้
เป็นต้น. ด้วยคำว่า เสยฺยถาปิ เป็นต้น พระองค์ทรงแสดงว่า สุนีธ-
พราหมณ์ และวัสสการพราหมณ์ พากันสร้างพระนคร เหมือนปรึกษากับ
พวกเทวดาชั้นดาวดึงส์.
บทว่า ยาวตา อริยํ อายตนํ ความว่า ชื่อว่า สถานที่เป็นที่ประชุม
แห่งพวกมนุษย์ผู้เป็นอริยะ มีประมาณเท่าใด มีอยู่. บทว่า ยาวตา
วณิปฺปโถ ได้แก่ ชื่อว่า สถานที่ซื้อและขาย โดยกองสิ่งของที่พวกพ่อค้า
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 七月 22, 2022

Chapho Kap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 80/787/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สมาบัติ ตอบรับรองหมายเอาโลกุตตระ. คำว่า สมาบัติมีปฐวีกสิณอาทิผิด อักขระ
เป็นอารมณ์ เป็นต้น สกวาทีกล่าวเพื่อถามด้วยคำว่า ปัญญา
ในที่ทั้งหลายมีประมาณเท่านี้นั้น ปัญญานั้นเป็นปฏิสัมภิทาทั้งหมดหรือ.
คำว่า ถ้าอย่างนั้นความรู้ทั้งปวงเป็นปฏิสัมภิทาหรือ อธิบายว่า
โลกุตตรปัญญาทั้งสิ้น เป็นปฏิสัมภิทา เหตุใด เพราะเหตุนั้น
คำว่า ทั้งปวง ท่านจึงให้ตั้งไว้เฉพาะกับอาทิผิด อักขระสามัญญผล ดังนี้แล.
อรรถกถาปฏิสัมภิทากถา จบ
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 七月 21, 2022

Phuen

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 41/487/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เกิดเป็นอุปนิสัยแห่งพระอรหัตของภิกษุนั้น ในกาลบัดนี้แล.
ชีวิตของผู้ปรารภความเพียรวันเดียวประเสริฐ
ภิกษุเหล่านั้นฟังเนื้อความนี้จากสำนักพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทูล
ถามยิ่งขึ้นว่า “พระเจ้าข้า ได้ยินว่า ภิกษุนี้ยืนจดคมมีดโกนที่ก้านคออยู่
เทียวบรรลุพระอรหัต, พระอรหัตมรรคเกิดขึ้นได้โดยขณะเพียงเท่านั้น
หรือหนอแล ?”
พระศาสดาตรัสว่า “อย่างนั้น ภิกษุทั้งหลาย, เมื่อภิกษุผู้ปรารภ
ความเพียร ยกเท้าขึ้นวางบนพื้น เมื่อเท้ายังไม่ทันถึงพื้นอาทิผิด อักขระเลย พระอรหัต-
มรรคก็ได้เกิดขึ้น; แท้จริง ความเป็นอยู่แม้เพียงชั่วขณะของท่านผู้ปรารภ
ความเพียร ประเสริฐกว่าความเป็นอยู่ ๑๐๐ ปี ของบุคคลผู้เกียจคร้าน”
ดังนี้แล้ว เมื่อจะทรงสืบอนุสนธิแสดงธรรม จึงตรัสพระคาถานี้ว่า :-
๑๑. โย จ วสฺสสตํ ชีเว กุสีโต หีนวีริโย
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย วีริยํ อารภโต ทฬฺหํ.
“ ผู้ใดเกียจคร้านมีความเพียรอันทราม พึง
เป็นอยู่ ๑๐๐ ปี, ความเป็นอยู่วันเดียว ของท่านผู้
ปรารภความเพียรมั่น ประเสริฐกว่าชีวิต ของผู้นั้น.”
แก้อรรถ
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า กุสีโต ได้แก่ บุคคลผู้ยังเวลาให้ล่วง
ไปด้วยวิตก ๓ มีกามวิตกเป็นต้น.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 七月 20, 2022

Mali

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 28/445/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ปาริฉัตตกะ สูงร้อยโยชน์ มีดอกบานสะพรั่งทั่วต้น ราวกะว่า เอาพระสิริ
ครอบงำอาทิผิด อักขระสิริของพระจันทร์ ๓๒ ดวง ของพระอาทิตย์ ๓๒ ดวง ของพระเจ้า-
จักรพรรดิ ๓๒ พระองค์ ท้าวเทวราช ๓๒ พระองค์ ของท้าวมหาพรหม ๓๒
พระองค์ ที่ถูกตั้งไว้ตามลำดับ. โดยอาการที่พระสรีระนั้น ประดับด้วย
บารมี ๓๐ ถ้วน คือบารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมัตถบารมี ๑๐ ที่ทรงบำเพ็ญ
มาแล้วโดยชอบ ทานที่ทรงให้แล้ว ศีลที่ทรงรักษาแล้ว กัลยาณกรรมที่ทรง
กระทำแล้วสิ้น ๔ อสงไขยกำไรแสนกัป เมื่อไม่ได้ฐานะที่จะให้วิชาหยั่งลง
ในอัตภาพหนึ่ง ก็กลายเป็นเหมือนถึงที่คับแคบ. ได้เป็นเหมือนเวลาที่ยก
สิ่งของจากเรือพันลำลงบรรทุกเรือลำเดียว เหมือนเวลาที่ยกสิ่งของจาก
เกวียนพันเล่มเอาบรรทุกเกวียนเล่มเดียว เหมือนเวลาห้วงน้ำของแม่น้ำ
คงคาแยกออก ๒๕ สาย แล้วรวมเป็นสายเดียวกัน ที่ประตูปากทาง.
ประทีปด้ามหลายพันดวง ชูขึ้นเบื้องพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า แม้
ผู้ส่องสว่างอยู่ด้วยพระพุทธสิรินี้ ข้างหลัง ข้างซ้าย ข้างขวาก็เหมือนกัน.
ดอกมะลิอาทิผิด ซ้อน ดอกจำปา มลิวัน อุบลแดง อุบลเขียว ดอกพิกุล และ
ดอกไม้ยางทราย จุณเครื่องหอมมีสีเขียวและสีเหลืองเป็นต้น เรี่ยรายไป.
เหมือนสายน้ำที่เมฆทั้ง ๔ ทิศ โปรยปรายลงมา เสียงก้องกังวานแห่ง
ดนตรีมีองค์ ๕ และเสียงแซ่ซ้องอาทิผิด ที่เกี่ยวด้วยพุทธคุณ ธรรมคุณ และ
สังฆคุณเต็มไปทุกทิศ. ดวงตาของเหล่าเทวดา มนุษย์ นาค ครุฑ คนธรรพ์
และยักษ์เป็นต้น ก็ได้เห็นเหมือนได้น้ำอมฤต. ก็การตั้งอยู่ในที่นี้แล้วกล่าว
สรรเสริญการเสด็จดำเนินไปพันบทก็ควร. คำดังจะกล่าวต่อไปนี้ เป็น
เพียงมุขคือหัวในเรื่องนั้น.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 七月 17, 2022

King Mai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 2/205/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ปรับด้วยย่างอาทิผิด อักขระเท้า. สำหรับช้างที่นอนอยู่ มีฐานเดียวเท่านั้น. เมื่อภิกษุไล่ให้
ช้างลุกขึ้น ด้วยไถยจิต พอช้างลุกขึ้นแล้ว เป็นปาราชิก, ถึงในม้า ก็มี
วินิจฉัยเหมือนกันนี้แล. แม้ถ้าม้านั้นถูกเขาล่ามไว้ที่เท้าทั้ง ๔ เทียว พึงทราบ
ว่ามีฐาน ๘. ถึงในอูฐก็มีนัยเช่นนี้. แม้โคบางตัวเป็นสัตว์ที่เขาผูกขังไว้ใกล้
เรือน. บางตัวยืนอยู่ไม่ได้ผูกไว้เลย, แต่บางตัว เขาผูกไว้ในคอก, บางตัว
ก็ยืนอยู่ไม่ได้ผูกไว้เลย.
บรรดาโคเหล่านั้น โคที่เขาผูกขังไว้ใกล้เรือน มีฐาน ๕ คือ เท้าทั้ง ๔
และเครื่องผูก. เรือนทั้งสิ้น เป็นฐานของโคที่ไม่ได้ผูก. โคที่เขาผูกไว้ในคอก
ก็มีฐาน ๕. คอกทั้งสิ้น เป็นฐานของโคที่ไม่ได้ผูก. ภิกษุให้โคนั้นล่วงเลย
ประตูคอกไป ต้องปาราชิก. เมื่อเธอทำลายคอกลักไปให้ล่วงเลยประตูคอกไป
เป็นปาราชิก เธอเปิดประตูออก หรือทำลายคอกแล้ว ยืนอยู่ข้างนอก แล้ว
ร้องเรียกออกชื่อ บังคับให้โคออกมา ต้องปาราชิก. แม้สำหรับภิกษุผู้แสดง
กิ่งไม้ที่หักได้ ให้โคเห็นแล้วเรียกมา ก็มีนัยเหมือนกันนั่นแหละ. เธอไม่ได้
เปิดประตู คอกก็ไม่ได้ทำลาย เป็นแต่สั่นกิ่งไม้อาทิผิด อาณัติกะที่หักได้แล้วเรียกโคมา. โค
กระโดดออกมาเพราะความหิวจัด เป็นปาราชิกเหมือนกัน. แต่ถ้าเมื่อเธอเปิด
ประตูออก หรือทำลายคอกแล้ว โคก็ออกมาเสียเอง เป็นภัณฑไทย. เธอ
เปิดประตู หรือไม่ได้เปิดก็ตาม ทำลายคอก หรือไม่ได้ทำลายก็ตาม เป็น
แต่สั่นกิ่งไม้อาทิผิด อาณัติกะที่หักได้อย่างเดียว ไม่ได้เรียกโค. โคเดินออกมาหรือกระโดดออก
มา เพราะความหิวจัด เป็นภัณฑไทยเหมือนกัน. โคที่เขาล่ามไว้กลางบ้าน
ยืนอยู่ตัวหนึ่ง นอนอยู่ตัวหนึ่ง. โคตัวที่ยืนอยู่มีฐาน ๕. ตัวที่นอนอยู่มีฐาน ๒.
พึงทราบการทำให้ไหว และให้เคลื่อนจากฐาน ด้วยอำนาจแห่งฐานเหล่านั้น.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 七月 14, 2022

Kilet

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/450/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เป็นจริง. บทว่า สมฺมปฺปญฺญาย ได้แก่ ด้วยสัมมาวิปัสสนาและ
มรรคปัญญา. บทว่า องฺคารกาสูปมา ความว่า กามเหล่านี้ท่าน
เปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง เพราะอรรถว่าทำให้เร่าร้อน. บทว่า
วิเวกนินฺนํ ได้แก่ น้อมไปในพระนิพพาน ด้วยอำนาจผลสมาบัติ.
บทว่า วิเวกฏฺฐํ ได้แก่ เว้นหรือห่างไกลจากกิเลสทั้งหลาย. บทว่า
เนกฺขมฺมาภิรตํ ได้แก่ ยินดียิ่งในบรรพชา. บทว่า พยนฺตีภูตํ แปลว่า
มีที่สุด (คือตัณหา) ไปปราศแล้ว คือ แม้โดยเอกเทศก็ไม่ติดอยู่
ไม่ประกอบไว้ ไม่เกี่ยวข้อง. บทว่า อาสวฏฺฐานิเยหิ ได้แก่ จากธรรม
อันเป็นเหตุแห่งอาสวะทั้งหลายด้วยอำนาจการประกอบไว้ อธิบาย
ว่า จากกิเลสอาทิผิด อักขระธรรมทั้งหลาย. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า พยนฺตีภูตํ แปลว่า
ปราศจากตัณหาอันชื่อตันตี อธิบายว่า ปราศจากตัณหา. บทว่า
สพฺพโส อาสวฏฺฐานิเยหิ ธมฺเมหิ ความว่า จากธรรมอันเป็นไป
ในภูมิ ๓ ทั้งหมด. ในสูตรนี้ ท่านกล่าวถึงอริยมรรคทั้งที่เป็น
โลกิยะและโลกุตตระ.
จบ อรรถกถาทุติพลสูตรที่ ๘
๑. ตันตี เป็นชื่อของตัณหา เพราะเป็นสายดุจเส้นเชือกผูกโยงสัตว์ไว้อาทิผิด ในวัฏฏสงสาร ฯ
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 七月 12, 2022

Ya

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 58/884/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๔ อีกว่า :-
ท่านอาบดีแล้ว ลูบไล้ดีแล้ว เอิบอิ่มไป
ด้วยข้าวและน้ำ และมีแก้วไพฑูรย์อยู่ที่คอ
ได้ไปกชังคละประเทศมาหรือ.
บรรดาบทเหล่านั้น ด้วยบทว่า กณฺเฐ จ เต เวฬุริโย นี้
นกพิราบหมายเอา กระเบื้องนั่นแหละ กล่าวว่า แม้แก้วไพฑูรย์
ของอาทิผิด ท่านนี้ ก็ประดับอยู่ที่คอ. ตลอดกาลมีประมาณเท่านี้ ท่านไม่แสดง
แก้วไพฑูรย์นี้แก่เราเลย. ด้วยบทว่า กชงฺคลํ นี้ เมืองพาราณสีเท่านั้น
ท่านประสงค์เอาว่า กชังคละประเทศ ในที่นี้. นกพิราบถามว่า ท่าน
ออกจากที่นี้ไป ได้ไปยังภายในเมืองมาหรือ ?
ลำดับนั้น กาจึงกล่าวคาถาที่ ๕ ว่า :-
คนผู้เป็นมิตรหรือเป็นศัตรูของท่านก็ตาม
อย่าอาทิผิด สระได้ไปกชังคละประเทศเลย เพราะใน
กชังคละประเทศนั้น คนทั้งหลายถอนขน
ของเราออกแล้วผูกกระเบื้องกลมไว้ที่คอ.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปิญฺชานิ ได้แก่ ขนหางทั้งหลาย
บทว่า ตตฺถ ลายิตฺวา ความว่า ในนครพาราณสีนั้น ชนทั้งหลาย
ถอน. บทว่า วฏฺฏนํอาทิผิด อักขระ ได้แก่ กระเบื้อง.
นกพิราบได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาสุดท้ายว่า :-
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 七月 11, 2022

Asevana

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 85/184/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอาเสวนอาทิผิด สระปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย
มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ
ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี ๓ วาระ.
[๗๙] เพราะเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย อนันตร-
ปัจจัย สมนันตรปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสย-
ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย อาเสวนปัจจัย ในกัมมปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ
ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี ๓ วาระ.
[๘๐] เพราะเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯ ล ฯ อาเสวนปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย อินทริยปัจจัย ฌานปัจจัย มัคคปัจจัย
สัมปยุตตปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย
ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 七月 10, 2022

Nang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 64/750/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เย สรํ ปาตุํ ความว่า สัตว์เหล่าใด
มาสู่สระนี้เพื่อดื่มน้ำ. บทว่า พฺยคฺฆสฺส จ ความว่า พระนางมัทรีทูลถาม
ว่า พระองค์ได้ทรงสดับเสียงของเสือโคร่งและสัตว์สี่เท้าอื่น ๆ มีช้างเป็นต้น
และฝูงนกที่ส่งเสียงร้องกึกก้องเป็นอันเดียวกันแล้วมิใช่หรือ ก็เสียงนั้นได้มีใน
เวลาที่พระมหาสัตว์พระราชทานพระโอรสและพระธิดา. บทว่า อหุ ปุพฺพ-
นิมิตฺตํ ความว่า ข้าแต่สมมติเทพ บุรพนิมิตเพื่อเสวยทุกข์อันนี้ได้มีแก่
หม่อมฉันแล้ว. บทว่า อุคฺคีวํ ได้แก่ กระเช้าที่คล้องอยู่บนบ่าพลัดตก.
บทว่า ปุถุํ ความว่า หม่อมฉันนมัสการแต่ละทิศทั่วสิบทิศ. บทว่า มา
เหว โน ความว่า หม่อมฉันอาทิผิด อักขระนมัสการปรารถนาว่า ขอพระราชบุตรเวสสันดร
ของพวกเราจงอย่าถูกพาลมฤคมีราชสีห์เป็นต้นฆ่า ขอลูกทั้งสองจงอย่าถูกหมี
เป็นต้นแตะต้อง. บทว่า เต มํ ปริยาวรุํ มคฺคํ ความว่า พระนางมัทรี
กราบทูลว่า ข้าแต่พระสวามี หม่อมฉันคิดว่า เราได้เห็นเหตุที่น่ากลัวเหล่านี้
เป็นอันมาก และเห็นสุบินร้ายวันนี้เราจักกลับมาให้ทันเวลาทีเดียว เห็นต้นไม้
ที่ผลิตผลเหมือนไม่มีผล ต้นไม้ที่ไม่มีผล ก็เหมือนผลิตผล เก็บผลาผลได้
โดยยาก ไม่อาจมาถึงประตูป่า ทั้งราชสีห์เป็นต้นเหล่านั้นเห็นหม่อมฉันแล้ว
ได้ยืนเรียงกันกั้นทางเสีย เพราะเหตุนั้นหม่อมฉันจึงมาจนเย็น ขอพระองค์ได้
โปรดยกโทษแก่หม่อมฉันเถิด พระเจ้าค่ะ.
พระมหาสัตว์ตรัสพระวาจาเท่านี้กับพระนางมัทรีแล้ว มิได้ตรัสอะไร ๆ
อีกจนอรุณขึ้น จำเดิมแต่นี้ พระนางมัทรีพิลาปรำพันมีประการต่าง ๆ ตรัสว่า
หม่อมฉันผู้เป็นชฏินีพรหมจารินี บำรุงพระสวามี
และลูกทั้งสองตลอดวันคืนดุจมาณพบำรุงอาจารย์
หม่อมฉันนุ่งห่มหนังอาทิผิด สระเสือเหลืองนำมูลผลในป่ามา
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 七月 05, 2022

Satsada

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 72/558/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ข้าแต่พระมหาวีรเจ้า หม่อมฉันอาทิผิด อักขระทั้งหลาย
มีญาณในอรรถ ในธรรม ในนิรุตติ และใน
ปฏิภาณ ญาณนั้นเกิดที่อาทิผิด สำนักของพระองค์
ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นพระนายกมหามุนี
พระองค์เป็นผู้อันหม่อมฉันทั้งหลายได้วิสสาสะอาทิผิด แล้ว
ได้ทรงโปรดมีจิตเมตตา อนุญาตให้หม่อมฉันทั้ง
ปวงนิพพานเถิดพระเจ้าข้า.
พระพิชิตมารได้ตรัสว่า เมื่อท่านทั้งหลาย
พูดอย่างนี้ว่า จักนิพพาน ฉันจักไปว่าอะไร ก็
บัดนี้ท่านทั้งหลายจงสำคัญกาลเวลาเอาเองเถิด.
ครั้งนั้น พระภิกษุณีเหล่านั้น มีพระ-
โคตมีอาทิผิด อักขระเถรีเจ้าเป็นต้น ถวายบังคมพระพิชิตมาร
แล้วได้พากันลุกจากที่นั่งนั้นไป พระธีรเจ้าผู้นำ
ชั้นเลิศของโลก พร้อมด้วยหมู่ชนเป็นอันมากได้
เสด็จไปส่งพระมาตุจฉาจนถึงซุ้มประตู ครั้งนั้น
พระโคตมีเถรีเจ้าพร้อมด้วยพระภิกษุณีทั้งหลาย
ทุก ๆ องค์ ได้พากันหมอบลงแทบพระยุคลบาท
ของพระศาสดาอาทิผิด อักขระผู้เป็นพงศ์พันธุ์ของโลก กราบ
ทูลว่า นี้เป็นการถวายบังคมพระยุคลบาทครั้ง
สุดท้ายของหม่อมฉัน การได้เห็นพระองค์ผู้เป็น
นาถะของโลกครั้งนี้ ก็เป็นครั้งสุดท้าย หม่อมฉัน
จักไม่ได้อาทิผิด เห็นพระพักตร์ของพระองค์ซึ่งมีอาการ
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 七月 04, 2022

Mahakatsapa

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 11/88/3  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ธรรมาสน์จับพัดงา. ครั้งนั้นแล ท่านพระมหากัสสปะถามภิกษุทั้งหลายว่า
ดูก่อนอาวุโสทั้งหลาย เราทั้งหลายจะสังคายนาปิฎกไหนก่อน ? ภิกษุ
ทั้งหลายกล่าวว่า สังคายนาสุตตันตอาทิผิด อักขระปิฎกก่อน พระมหากัสสปะอาทิผิด อักขระถามว่า
ในสุตตันตปิฎกมีสังคีติ ๔ ประการ (คือ ทีฆสังคีติ การสังคายนาทีฆนิกาย
มัชฌิมสังคีติ การสังคายนามัชฌิมนิกาย สังยุตตสังคีติ การสังคายนา-
สังยุตตนิกาย อังคุตตรสังคีติ การสังคายนาอังคุตตรนิกาย ส่วนขุททก-
นิกาย มีวินัยปิฎกรวมอยู่ด้วย จึงไม่นับในที่นี้ ) ในสังคีติเหล่านั้น เรา
ทั้งหลายจะสังคายนาสังคีติไหนก่อน ? ภิกษุทั้งหลายกล่าวว่า สังคายนา
ทีฆสังคีติก่อน. พระมหากัสสปะถามว่า ในทีฆสังคีติ มีสูตร ๓๔ สูตร
มีวรรค ๓ วรรค ในวรรคเหล่านั้น เราทั้งหลายจะสังคายนาวรรคไหน
ก่อน ? ภิกษุทั้งหลายกล่าวว่า สังคายนาสีลขันธวรรคก่อน. พระมหา-
กัสสปะถามว่า ในสีลขันธวรรค มีสูตร ๑๓ สูตร ในสูตรเหล่านั้น เรา
ทั้งหลายจะสังคายนาสูตรไหนก่อน ? ภิกษุทั้งหลายกล่าวว่าข้าแต่ท่านผู้เจริญ
ขึ้นชื่อว่าพรหมชาลสูตรประดับด้วยศีล ๓ ประเภท เป็นสูตรกำจัดโทษ
มีการหลอกลวง และการพูดประจบประแจงซึ่งเป็นมิจฉาชีพหลายอย่าง
เป็นต้น เป็นสูตรปลดเปลื้องข่ายคือ ทิฏฐิ ๖๒ ทำหมื่นโลกธาตุให้ไหว
เราทั้งหลายจงสังคายนาพรหมชาลสูตรนั้นก่อน.
ครั้งนั้นแล ท่านพระมหากัสสปะได้กล่าวถามคำนี้กะท่านพระ
อานนท์ว่า ดูก่อนอาวุโสอานนท์ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพรหมชาลสูตร
ที่ไหน ? พระอานนท์ตอบว่า ตรัส ณ พระตำหนักในพระราชอุทยาน
อัมพลัฏฐิกา ระหว่างกรุงราชคฤห์และเมืองนาลันทา. พระมหากัสสปะ
ถามว่า ทรงปรารภใคร ? พระอานนท์ตอบว่า ทรงปรารภสุปปิยปริ-
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 七月 03, 2022

Bannasala

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 71/988/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เราทิ้งม้าสินธพอาชาไนยโดยกำเนิด หกหมื่นม้า อัน
ประกอบด้วยเครื่องอลังการทั้งปวง เป็นพาหนะวิ่งเร็ว อันนายสารถีอาทิผิด
ผู้บังคับม้าอาทิผิด มือถือธนูสวมเกราะหนัง ขึ้นประจำหลังเสียทั้งหมดแล้ว
ออกบวชเป็นบรรพชิต.
เราสละรถ หกหมื่นคัน อันประดับด้วยเครื่องอลังการ
ทั้งปวง หุ้มด้วยหนังเสือเหลืองบ้าง ด้วยหนังเสือโคร่งบ้าง
สอดเครื่องรบมีธงปักไว้หน้ารถ ทั้งหมดนี้แล้ว บวชเป็น
บรรพชิต.
เราทิ้งแม่โคนม หกหมื่นตัว อันรองน้ำนมด้วยขันสำริด
ทั้งหมดเสียแล้ว บวชเป็นบรรพชิต.
เราสละหญิง หกหมื่นคน ผู้ประดับด้วยเครื่องอลังการ
ทั้งปวง มีผ้าและอาภรณ์อันวิจิตร สวมใส่แก้วมณีและกุณฑล
มีหน้าเบิกบาน ยิ้มแย้ม ตะโพกผึ่งผาย เอวเล็กเอวบาง
ทุกคนคร่ำครวญอยู่แล้ว บวชเป็นบรรพชิต.
เราทิ้งบ้าน หกหมื่นหลัง อันบริบูรณ์ด้วยประการทั้งปวง
ซึ่งเป็นรัชสมบัตินั้นเสียแล้ว บวชเป็นบรรพชิต.
เราออกจากพระนครแล้ว เข้าไปสู่อาทิผิด ภูเขาหิมวันต์ ได้สร้าง
อาศรมไว้ ณ ที่ใกล้แม่น้ำภาคีรสี.
ทำบรรณอาทิผิด อักขระศาลาเสร็จแล้ว ทำเรือนสำหรับบูชาไฟ เรา
ปรารภอาทิผิด ความเพียรมีใจแน่วแน่ อยู่ในอาศรม.
๑. ภาคีรถี แม่น้ำคงคา อภิธาน. ๖๘๑/๑๙๒.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 七月 02, 2022

Phon

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/856/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อยู่แล้ว เพราะพ้นจากกิเลสทั้งหลาย. บทว่า ฐิตตฺตา สนฺตุสิโต
ได้แก่ ชื่อว่า สันโดษ เพราะตั้งมั่นแล้วนั่นเอง. บทว่า สนฺตุสิตตฺตา
โน ปริตสฺสติ ได้แก่ ไม่ถึงความสะดุ้งเพราะเป็นผู้สันโดษแล้ว.
ด้วยบทว่า อยํ ภนฺเต อานนฺท สมาธิ กิํผโล นี้ พระเถรีถือเอา
สมาธิในอรหัตผลแล้วถามว่า ข้าแต่ท่านพระอานนท์ สมาธินี้
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่าเป็นผลอาทิผิด ของอะไร ดุจถือเอาผลตาล
แล้วถามว่า ผลนี้ชื่อผลอะไรดังนี้. บทว่า อญฺญา ผโล วุตฺโต
ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกพระอรหัตว่า อญฺญา
ชื่อว่า สมาธิในอรหัตผลนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้แล้ว. บทว่า
เอวํสญฺญีปิ ความว่า แม้มีสัญญาด้วยสัญญาในอรหัตผลนี้ ก็ไม่
เสวยอายตนะนั้น เพราะเหตุนั้นในพระสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า
จึงตรัสถึงสมาธิในอรหัตผลด้วยประการฉะนี้.
จบ อรรถกถาอานันทสูตรที่ ๖
 
พระปิฎกธรรม